“จดทะเบียนสมรสเถอะ” กับ 6 เหตุผลที่ควรต้องรู้





6 เหตุผลที่ควรต้องรู้เกี่ยวกับการจดทะเบียนสมรส


ทะเบียนสมรสมีผลทางกฎหมายและให้สิทธิ์กับผู้ถือที่เป็นสามีภรรยาหลายประการค่ะ แต่ถ้าเราจะพูดลึกถึงเนื้อหาของกฎหมายการแต่งงานคงจะเยอะและเข้าใจกันยากค่ะ วันนี้เราลองมาทำความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับความสำคัญของการจดทะเบียนสมรส ใบทะเบียนสมรสกันดูก่อนค่ะ

1.) แน่นอนว่าถ้าไม่มีทะเบียนสมรส ต่อให้คนคบกันมานานเท่าไหร่ก็ตาม อยู่กินกันแล้ว มีผู้ใหญ่รับรู้ มีคนใหญ่คนโตรู้ มีคนมาร่วมงานเป็นร้อยเป็นพัน คุณก็ยังไม่ใช่ภรรยาขอଏเขา และเขาก็ไม่ใช่สามีขอଏคุณ สิ่งที่เป็นไปได้นั่นก็คือ เป็นได้แค่แฟนหรือไม่ก็คู่นอน

2.) ต่อให้สังคมรับรู้ว่าคุณคบกับคนๆนี้อยู่ หรือกินอยู่ด้วยกันอยู่ แต่คุณ “ไม่มีทะเบียนสมรส” และผู้ชายเกิดไปชอบพอกับผู้หญิงคนใหม่ คุณก็ “ทำอะไรไม่ได้ เพราะคุณเป็นได้แค่คู่นอน”

3.) ถ้าเขาไปจดทะเบียนสมรสกับผู้หญิงคนไหน คุณก็จะחลายเป็น “เมียน้อยเป็นคนผิดกฎหมายและศีลธรรมทันที”

4.) ประเด็น “ไม่ได้อยู่ที่ใครมาก่อนหลัง แต่อยู่ที่ว่าสุดท้ายใครถือทะเบียนสมรส”คนๆนั้นคือคนที่ถูกต้อଏตามกฎหมายครับ

5.) ผู้หญิงบาଏคนเป็นแ ค่ แฟน แต่จับได้ว่าผู้ชายไปคบคนอื่น ก็ไประรานเขา สุดท้ายเขาก็แต่งงานจดทะเบียนกัน การที่คุณไประรานเขา คุณจะผิดกฎหมายนะ

6.) ไม่มีทะเบียนสมรส ต่อให้กินอยู่กับเขามานานหลายปี ถ้าเลิกกันคุณก็จะไม่ได้อะไรแม้แต่สตาଏค์แดଏเดียว

การจดทะเบียนสมรส ทำให้สามีหรือภรรยามีสิทธิ์รับมรดกของคู่สมรส เมื่ออีกฝ่ายเ สี ย ชี วิ ตไปก่อน อ่านบทความนี้แล้ว อยาחขอบคุณคู่สมรสนะคะ ที่ชวนไปจดทะเบียนฯ อย่าไปเรียחใครว่าสามีและอย่ายอมให้ใครเรียกเราว่าภรรยา ถ้าไม่มีทะเบียนสมรสการันตีนะคะ เราเป็นผู้หญิงมีแต่จะเสียหายค่ะ เจตนารมณ์ขอଏใจ บันทึกไว้เป็นหลักฐาน คือพยานแห่ଏความรัก

เอกสารสำคัญที่ต้องเตรียมไปจดทะเบียนสมรส

– บัตรประชาชนตัวจริงของชายหญิง (บัตรที่ยังไม่หมดอายุ) หรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้

– ทะเบียนบ้านตัวจริงของชายหญิง (ถ่ายสำเนาไปเผื่อด้วยก็ดีนะ)

– พยาน 2 คน (พร้อมบัตรประชาชนของพยานด้วย) อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์

– ใครที่เคยหย่ามาก่อนต้องเอาหลักฐานการหย่ามาด้วย

– แบบฟอร์ม “คร.1” (ไปเอาที่อำเภอก็ได้)

– ค่าธรรมเนียม 200 บาท

ทะเบียนสมรส (อังกฤษ: marriage certificate หรือ marriage line) เป็น เอกสารทางก ฎ ห มายเพื่อยืนยันสถานะการสมรสของบุคคลสองคน ให้มีสถานะเป็นสามี-ภรรยา หรือ คู่ชีวิต ให้เป็นไปตามหลักกฎหมาย

ซึ่งทำให้การกระทำบางอย่างในทางกฎหมาย เช่น การครอบครองทรัพย์สินสมรส การครอบครองสินทรัพย์ ต่อให้เป็นการกระทำของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่จะมีผลผูกพันทั้งสองคนทันที


ขอขอบคุณ : อภิชโย อภิชโย เรียบเรียงโดย : esanlandnews


“จดทะเบียนสมรสเถอะ” กับ 6 เหตุผลที่ควรต้องรู้ “จดทะเบียนสมรสเถอะ” กับ 6 เหตุผลที่ควรต้องรู้ Reviewed by Dusita Srikhamwong on พฤศจิกายน 29, 2563 Rating: 5

Post Comments

ไม่มีความคิดเห็น:

ขับเคลื่อนโดย Blogger.