หากคุณได้ “ออกจากงานหรือถูกเลิกจ้าง” นี่คือ 8 สิ่งที่ต้องทำ
ด้วยสภาพเศรษฐกิจแบบนี้ หลายคน คงจะหวั่นกับความ เ สี่ ย ง ที่จะตกงานหรือถูกเลิกจ้างเป็นอย่างมาก หรือแม้แต่บางคนที่ตัดสินใจลาออกจากเอง
เพราะรู้สึกไม่มีความสุขกับการทำงาน แต่ก็ต้องมานั่งกลุ้มใจทีหลัง กับค่าใช้จ่ายและภาระหนี้สินที่แบกไว้ วันนี้เราจะมาบอกสิ่งที่ต้องทำหลังจากออกจากงาน หรือถูกเลิกจ้าง ว่าควรทำทำอย่างไรต่อไป
1. ตรวจสอบสภาพการเงินของคุณ
เมื่ออยู่ในสถานะว่างงาน การตรวจสอบสภาพ การเงินของคุณในปัจจุบันจึงเป็นสิ่งสำคัญ คุณต้องคำนวณถึงรายจ่ายและภาระหนี้สินที่ต้องจ่ายทุกเดือนและมองหารายได้ที่ยังเหลืออยู่ว่าเพียงพอหรือไม่ อย่างไร
เพื่อที่คุณจะได้เตรียมตัวและรับมือกับสถานการณ์ การเงินของคุณได้ถูกต้อง รายจ่ายไหนที่ไม่จำเป็นก็ให้เอาออกไป เพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย ให้สมดุลกับการเงินปัจจุบัน
2. ติดต่อประกันสังคม
หากคุณว่างงานสิ่งแรก ที่จะต้องทำคือ การจัดการเรื่องประกันสังคมให้เรียบร้อยไม่ว่าจะว่างงาน จากการลาออกเองหรือถูกไล่ออก
ต้องรีบไปติดต่อสำนักงานประกันสังคมเพื่อ รั ก ษ า สิ ท ธิ และประโยชน์ที่เราพึงจะได้รับ
3. เคลียร์เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
สำหรับเรื่องเงินกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ หากคุณเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คุณก็จะได้ประโยชน์จากเงินสะสม โดยสามารถรับเป็นเงินก้อนได้เวลาออกจากงาน ก็จะมีเงินก้อนไว้สำรองเลี้ยงชีพ แต่หากคุณยังไม่ได้จำเป็นที่จะใช้เงินก้อนนี้ ก็อาจจะคงเงินไว้ในระบบก่อน
เพื่อรอโ อ น ย้ายไปยังกองทุนของบริษัทใหม่ในอนาคตแต่หากคุณออกจากกองทุน โดยที่ยังไม่เกษียณอายุ คุณอาจจะเสียผลประโยชน์จากเงินสมทบที่จะได้รับไม่เต็มจำนวน ดังนั้นควรศึกษาเงื่อนไขต่างๆอย่างละเอียด เพื่อไม่ให้เสี ยเปรียบผลประโยชน์ที่คุณควรจะได้รับ
4. เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เงิน
หลังจากตรวจสอบการเงิน ของคุณเรียบร้อยแล้ว คุณจะทราบถึงทิศทางการเงินของคุณ ระหว่างรายได้กับรายจ่าย แน่นอนว่ารายได้ของคุณ ลดลงดังนั้นสิ่งที่ต้องทำคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เงินอย่างเร่งด่วน ต้องลดรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือยออกไปให้หมด
และจ่ายให้น้อยลงสำหรับสิ่ง ที่จำเป็นในส่วนของค่าใช้จ่าย หรือภาระหนี้สินที่คุณต้องจ่ายนั้น ให้เลือกลดเป็นอันดับสุดท้ายเพราะ มันจะมีผลกระทบต่อเครดิต และความน่าเชื่อถือของคุณ เป็นการเรียงลำดับความสำคัญในการเลือกที่จะใช้จ่ายนั่นเอง
5. มองหางานใหม่
หลายคนเมื่อว่างงาน ก็มักจะรีบเร่งหางานใหม่ ทันที โดยที่ไม่ได้มองถึงความชอบของงานจริงๆ กลายเป็นว่าทำได้ไม่นาน ก็ต้องลาออกมาหางานใหม่ อีกเหมือนเดิมแน่นอนว่าการหางานที่ชอบทำแล้วมีความสุข กับเพื่อนร่วมงานและสภาพแวดล้อมที่ทำงานดีๆ
รวมถึงผลตอบแทนที่น่าพอใจนั้นหายาก ยิ่งกว่าการงม เ ข็ ม ในมหาสมุทรการจะทำงานและอยู่กับมันให้ได้นานๆ ก็ขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัยหลัก คือ เ นื้ อ หาของงาน รายได้และผู้ร่วมงาน หากใครมีความพอใจต่อสิ่งเหล่านี้ได้ 2 ใน 3 อย่างก็จะสามารถทำงานนั้นได้อย่างยาวนานและไม่ต้องเปลี่ยนงานบ่อยๆ
ดังนั้น เราควรที่จะมองหาสิ่งที่ตรงกับความต้องการของตัวเอง และสามารถอยู่กับมันได้นานๆ โดยที่ไม่ต้องกลับมาตกอยู่ในสถานะว่างงานอีก
6. เก็บ รั ก ษ า เงินก้อน
หากว่างงานและได้เงินก้อน อย่าเพิ่งรีบร้อน ใช้เงินเงินก้อนนี้ หรือแม้แต่จะนำไปปลดหนี้ เพื่อหวังลดภาระหนี้สินวิธีที่ดีที่สุดที่จะจัดการกับเงินก้อนนี้อย่างชาญฉลาด คือการนำเงินก้อนนี้มาแบ่งสรรปันส่วน
จัดสรรเงินเพื่อให้เพียงพอต่อการดำรงชีพและการจ่ายคืนหนี้ได้ตามกำหนดไว้ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน ค่าบ้าน ค่างวดรถ ค่าบั ต ร เ ค ร ดิ ต และอื่นๆ
คุณควรที่จะกันเงินสำรองนี้ รวมถึงเงินส่วนอื่นๆ ที่จะทำให้คุณสามารถ ใช้ชีวิตได้ตามปกติไปอีก 6 เดือนเป็นอย่างน้อยเพื่อให้แน่ใจว่าคุณจะสามารถอยู่ได้อย่างปกติ จนกว่าจะหางานใหม่ทำได้
7. ทำงานฟรีแลนซ์
หลายคนมีความฝัน ที่อยากจะทำงานอิสระ ไม่ต้องไปเป็นลูกน้องรับคำสั่งจากใคร หรือคอยรองรับอารมณ์ใคร แต่ก็ใช่ว่าทุกคน จะเป็นได้อย่างที่หวังด้วยเหตุผลเรื่องความมั่นคง และความแน่นอนของรายได้ จึงทำให้หลายคนไม่กล้าที่จะออกมาใช้ชีวิตในแบบที่ตัวเองต้องการ
ดังนั้น เวลาว่างงาน จึงเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำให้เราได้ลองทำในสิ่งที่ อยากจะทำและยังเป็นการหารายได้ให้ตัวเองโดยอาจจะเริ่มจากรับงานฟรีแลนซ์เล็กๆ ที่สามารถทำคนเดียวได้และเมื่อพบลู่ทางจะได้สามารถนำมาเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้หลักให้กับเรา โดยที่ไม่ต้องกลับไปเป็นพนังงานเงินเดือนอีกต่อไป
8. พัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
ถึงแม้ว่าเรากำลังตกอยู่ในสถานะคนว่างงาน ก็ใช่ว่าเราจะต้องปล่อยเวลาทิ้งไปให้เปล่าประโยชน์ หรือตระเวนหาแต่งานใหม่ จนลืมไปว่าสิ่งสำคัญอีกอย่าง ในการที่จะเริ่มต้นการทำงานใหม่ คือ ศักยภาพที่สูงขึ้นของเราเองเราควรมีการพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
โดยเฉพาะเรื่อง ของภาษาต่างประเทศ หรือทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการทำงาน ในทุกสายงานปัจจุบันไปแล้ว
นอกจากนี้การพัฒนาศักยภาพตัวเอง ในด้านวิชาชีพตามความต้องการในสายงาน ที่จะทำก็จำเป็นและมีผลต่อการพิจารณารับเราเข้าทำงานเป็นอย่างมาก
เราจึงไม่ควรปล่อยช่วงเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ ใช้เวลาที่ว่างงานนี้แหละ มองหาโอกาสพัฒนาตัวเอง เพื่อเตรียมพร้อมกับการทำงานในอนาคต
ขอขอบคุณ คุ ณ ม น ต รี ศ รี ว ง ษ์
ด้วยสภาพเศรษฐกิจแบบนี้ หลายคน คงจะหวั่นกับความ เ สี่ ย ง ที่จะตกงานหรือถูกเลิกจ้างเป็นอย่างมาก หรือแม้แต่บางคนที่ตัดสินใจลาออกจากเอง
เพราะรู้สึกไม่มีความสุขกับการทำงาน แต่ก็ต้องมานั่งกลุ้มใจทีหลัง กับค่าใช้จ่ายและภาระหนี้สินที่แบกไว้ วันนี้เราจะมาบอกสิ่งที่ต้องทำหลังจากออกจากงาน หรือถูกเลิกจ้าง ว่าควรทำทำอย่างไรต่อไป
1. ตรวจสอบสภาพการเงินของคุณ
เมื่ออยู่ในสถานะว่างงาน การตรวจสอบสภาพ การเงินของคุณในปัจจุบันจึงเป็นสิ่งสำคัญ คุณต้องคำนวณถึงรายจ่ายและภาระหนี้สินที่ต้องจ่ายทุกเดือนและมองหารายได้ที่ยังเหลืออยู่ว่าเพียงพอหรือไม่ อย่างไร
เพื่อที่คุณจะได้เตรียมตัวและรับมือกับสถานการณ์ การเงินของคุณได้ถูกต้อง รายจ่ายไหนที่ไม่จำเป็นก็ให้เอาออกไป เพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย ให้สมดุลกับการเงินปัจจุบัน
2. ติดต่อประกันสังคม
หากคุณว่างงานสิ่งแรก ที่จะต้องทำคือ การจัดการเรื่องประกันสังคมให้เรียบร้อยไม่ว่าจะว่างงาน จากการลาออกเองหรือถูกไล่ออก
ต้องรีบไปติดต่อสำนักงานประกันสังคมเพื่อ รั ก ษ า สิ ท ธิ และประโยชน์ที่เราพึงจะได้รับ
3. เคลียร์เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
สำหรับเรื่องเงินกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ หากคุณเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คุณก็จะได้ประโยชน์จากเงินสะสม โดยสามารถรับเป็นเงินก้อนได้เวลาออกจากงาน ก็จะมีเงินก้อนไว้สำรองเลี้ยงชีพ แต่หากคุณยังไม่ได้จำเป็นที่จะใช้เงินก้อนนี้ ก็อาจจะคงเงินไว้ในระบบก่อน
เพื่อรอโ อ น ย้ายไปยังกองทุนของบริษัทใหม่ในอนาคตแต่หากคุณออกจากกองทุน โดยที่ยังไม่เกษียณอายุ คุณอาจจะเสียผลประโยชน์จากเงินสมทบที่จะได้รับไม่เต็มจำนวน ดังนั้นควรศึกษาเงื่อนไขต่างๆอย่างละเอียด เพื่อไม่ให้เสี ยเปรียบผลประโยชน์ที่คุณควรจะได้รับ
4. เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เงิน
หลังจากตรวจสอบการเงิน ของคุณเรียบร้อยแล้ว คุณจะทราบถึงทิศทางการเงินของคุณ ระหว่างรายได้กับรายจ่าย แน่นอนว่ารายได้ของคุณ ลดลงดังนั้นสิ่งที่ต้องทำคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เงินอย่างเร่งด่วน ต้องลดรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือยออกไปให้หมด
และจ่ายให้น้อยลงสำหรับสิ่ง ที่จำเป็นในส่วนของค่าใช้จ่าย หรือภาระหนี้สินที่คุณต้องจ่ายนั้น ให้เลือกลดเป็นอันดับสุดท้ายเพราะ มันจะมีผลกระทบต่อเครดิต และความน่าเชื่อถือของคุณ เป็นการเรียงลำดับความสำคัญในการเลือกที่จะใช้จ่ายนั่นเอง
5. มองหางานใหม่
หลายคนเมื่อว่างงาน ก็มักจะรีบเร่งหางานใหม่ ทันที โดยที่ไม่ได้มองถึงความชอบของงานจริงๆ กลายเป็นว่าทำได้ไม่นาน ก็ต้องลาออกมาหางานใหม่ อีกเหมือนเดิมแน่นอนว่าการหางานที่ชอบทำแล้วมีความสุข กับเพื่อนร่วมงานและสภาพแวดล้อมที่ทำงานดีๆ
รวมถึงผลตอบแทนที่น่าพอใจนั้นหายาก ยิ่งกว่าการงม เ ข็ ม ในมหาสมุทรการจะทำงานและอยู่กับมันให้ได้นานๆ ก็ขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัยหลัก คือ เ นื้ อ หาของงาน รายได้และผู้ร่วมงาน หากใครมีความพอใจต่อสิ่งเหล่านี้ได้ 2 ใน 3 อย่างก็จะสามารถทำงานนั้นได้อย่างยาวนานและไม่ต้องเปลี่ยนงานบ่อยๆ
ดังนั้น เราควรที่จะมองหาสิ่งที่ตรงกับความต้องการของตัวเอง และสามารถอยู่กับมันได้นานๆ โดยที่ไม่ต้องกลับมาตกอยู่ในสถานะว่างงานอีก
6. เก็บ รั ก ษ า เงินก้อน
หากว่างงานและได้เงินก้อน อย่าเพิ่งรีบร้อน ใช้เงินเงินก้อนนี้ หรือแม้แต่จะนำไปปลดหนี้ เพื่อหวังลดภาระหนี้สินวิธีที่ดีที่สุดที่จะจัดการกับเงินก้อนนี้อย่างชาญฉลาด คือการนำเงินก้อนนี้มาแบ่งสรรปันส่วน
จัดสรรเงินเพื่อให้เพียงพอต่อการดำรงชีพและการจ่ายคืนหนี้ได้ตามกำหนดไว้ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน ค่าบ้าน ค่างวดรถ ค่าบั ต ร เ ค ร ดิ ต และอื่นๆ
คุณควรที่จะกันเงินสำรองนี้ รวมถึงเงินส่วนอื่นๆ ที่จะทำให้คุณสามารถ ใช้ชีวิตได้ตามปกติไปอีก 6 เดือนเป็นอย่างน้อยเพื่อให้แน่ใจว่าคุณจะสามารถอยู่ได้อย่างปกติ จนกว่าจะหางานใหม่ทำได้
7. ทำงานฟรีแลนซ์
หลายคนมีความฝัน ที่อยากจะทำงานอิสระ ไม่ต้องไปเป็นลูกน้องรับคำสั่งจากใคร หรือคอยรองรับอารมณ์ใคร แต่ก็ใช่ว่าทุกคน จะเป็นได้อย่างที่หวังด้วยเหตุผลเรื่องความมั่นคง และความแน่นอนของรายได้ จึงทำให้หลายคนไม่กล้าที่จะออกมาใช้ชีวิตในแบบที่ตัวเองต้องการ
ดังนั้น เวลาว่างงาน จึงเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำให้เราได้ลองทำในสิ่งที่ อยากจะทำและยังเป็นการหารายได้ให้ตัวเองโดยอาจจะเริ่มจากรับงานฟรีแลนซ์เล็กๆ ที่สามารถทำคนเดียวได้และเมื่อพบลู่ทางจะได้สามารถนำมาเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้หลักให้กับเรา โดยที่ไม่ต้องกลับไปเป็นพนังงานเงินเดือนอีกต่อไป
8. พัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
ถึงแม้ว่าเรากำลังตกอยู่ในสถานะคนว่างงาน ก็ใช่ว่าเราจะต้องปล่อยเวลาทิ้งไปให้เปล่าประโยชน์ หรือตระเวนหาแต่งานใหม่ จนลืมไปว่าสิ่งสำคัญอีกอย่าง ในการที่จะเริ่มต้นการทำงานใหม่ คือ ศักยภาพที่สูงขึ้นของเราเองเราควรมีการพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
โดยเฉพาะเรื่อง ของภาษาต่างประเทศ หรือทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการทำงาน ในทุกสายงานปัจจุบันไปแล้ว
นอกจากนี้การพัฒนาศักยภาพตัวเอง ในด้านวิชาชีพตามความต้องการในสายงาน ที่จะทำก็จำเป็นและมีผลต่อการพิจารณารับเราเข้าทำงานเป็นอย่างมาก
เราจึงไม่ควรปล่อยช่วงเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ ใช้เวลาที่ว่างงานนี้แหละ มองหาโอกาสพัฒนาตัวเอง เพื่อเตรียมพร้อมกับการทำงานในอนาคต
ขอขอบคุณ คุ ณ ม น ต รี ศ รี ว ง ษ์
หากคุณได้ “ออกจากงานหรือถูกเลิกจ้าง” นี่คือ 8 สิ่งที่ต้องทำ
Reviewed by Dusita Srikhamwong
on
มกราคม 28, 2565
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น: