ให้อภัย แต่ไม่สุงสิงด้วย ไม่กลับไปผูกมิตรอีก
ความทุกข์… มักตกอยู่กับคนที่มีความ ” เ ก ลี ย ด “
ผลกรรม… มันตกอยู่กับคนที่มีความ ” เ คี ย ด แ ค้ น “
เราทุกคนมักมีความ ” เ ก ลี ย ด “ ความ ” เ คี ย ด แ ค้ น “ อยู่ในตัว
และ การที่เรานั้นไม่รู้จักให้อภัย เป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้เรามีความทุกข์โดยที่เราไม่รู้ตัว
คนที่ ไม่มีความทุกข์ ไม่มีกรรม คือคนที่ ” ไม่ เ ก ลี ย ด “ และ ” ไ ม่ เ คี ย ด แ ค้ น “ ใครทั้งนั้น
ใครที่ให้อภัยได้ก่อน มักจะมีความสุขในชีวิตก่อน ต่อจากนี้คือประเด็นสำคัญ…!!
การให้อภัย ไม่ได้หมายความว่าให้โอกาส ให้อภัยไม่ได้หมายความว่าจะกลับไปคบ กลับไปผูกมิตร
คุณต้องทำความเข้าใจให้ดีก่อนว่าคำว่าให้อภัย กับคำว่าให้โอกาส เป็นคนละส่วนกัน
การให้อภัย คือการยกโทษทางจิตใจของเราให้ต่อเขา ต่อสิ่งที่เขาทำผิดต่อเรา
การให้อภัยไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าเรื่องราวที่เขาทำผิดนั้นจะเป็นอย่างไร
จะเสียใจ จะชดใช้ จะรับโทษหรือเปล่า เราไม่ต้องไปสน
ขอเพียงแค่… เรารู้สึกว่าให้อภัยเขาได้ เราจึงให้อภัย
ถ้าหากว่าเราให้อภัยเขาได้ สิ่งที่เราได้นั่นคือไล่ความโกรธออกไปจากตัวเรา
ในบางครั้งเราไม่ให้อภัยคน เพราะเราคิดว่าเราทำไม่ได้
เพราะเขาไม่ควรได้รับการให้อภัย แต่ในขณะเดียวกันนั้น
เรากลับไม่รู้ตัวว่าจิตใจของเราที่ ” โ ก ร ธ แ ค้ น “ นั้น มักจะมาคู่กับ ” ค ว า ม ทุ ก ข์ “
และในที่สุด มันมักจะกลับมาหาตัวเราอยู่เสมอ ทำให้เราไม่มีความสุข
มองไปทานไหนก็มีแต่เรื่องทุกข์ร้อนใจ มีแต่อะไรให้คิดกังวลใจ
ในการให้อภัย ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะต้องกลับไปดีกับเขา
แต่เป็นการทำให้เราพ้นจากความรู้สึกทุกข์ร้อนใจ และ ความกังวลใจ
เคยได้ยินไหมกับคำที่ว่า… ” ให้อภัย แต่ไม่สุงสิงด้วย ”
ยกโทษให้ แต่ไม่กลับไปคบ ไม่กลับไปผูกมิตรอีก
คนที่คิดแบบนี้ทำแบบนี้ได้คือคนที่ชนะไม่ใช่พ่ายแพ้
จริงๆ แล้วการให้อภัยกับการให้โอกาส
เป็นคนละส่วนกัน เราให้อภัยแต่ไม่ให้โอกาสได้
เพราะการให้อภัยคือการยกโทษให้ภายในใจ ภายในความคิด
แต่การให้โอกาสต้องมาพร้อมกับการพิสูจน์ตัวเองของคนทำผิด
ถ้าคนทำผิดไม่ได้กลับใจ ไม่ได้เสียใจ
เราไม่จำเป็นต้องให้โอกาสเสมอไป
และ บางครั้งเขายังต้องได้รับผลจากการกระทำความผิดนั้น
แต่ส่วนของเรานั้น แค่ยกโทษให้เขา แล้วเดินหนีออกมา
เอาความสุขของเรากลับคืนมาใหม่เป็นของเรา
การให้อภัย ทำให้เราได้ชีวิต และ ความสุขของเรากลับมา
Cr. ขอบคุณรูปภาพจากอินเตอร์เน็ต , เรียบเรียงโดย bitcoretech
ความทุกข์… มักตกอยู่กับคนที่มีความ ” เ ก ลี ย ด “
ผลกรรม… มันตกอยู่กับคนที่มีความ ” เ คี ย ด แ ค้ น “
เราทุกคนมักมีความ ” เ ก ลี ย ด “ ความ ” เ คี ย ด แ ค้ น “ อยู่ในตัว
และ การที่เรานั้นไม่รู้จักให้อภัย เป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้เรามีความทุกข์โดยที่เราไม่รู้ตัว
คนที่ ไม่มีความทุกข์ ไม่มีกรรม คือคนที่ ” ไม่ เ ก ลี ย ด “ และ ” ไ ม่ เ คี ย ด แ ค้ น “ ใครทั้งนั้น
ใครที่ให้อภัยได้ก่อน มักจะมีความสุขในชีวิตก่อน ต่อจากนี้คือประเด็นสำคัญ…!!
การให้อภัย ไม่ได้หมายความว่าให้โอกาส ให้อภัยไม่ได้หมายความว่าจะกลับไปคบ กลับไปผูกมิตร
คุณต้องทำความเข้าใจให้ดีก่อนว่าคำว่าให้อภัย กับคำว่าให้โอกาส เป็นคนละส่วนกัน
การให้อภัย คือการยกโทษทางจิตใจของเราให้ต่อเขา ต่อสิ่งที่เขาทำผิดต่อเรา
การให้อภัยไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าเรื่องราวที่เขาทำผิดนั้นจะเป็นอย่างไร
จะเสียใจ จะชดใช้ จะรับโทษหรือเปล่า เราไม่ต้องไปสน
ขอเพียงแค่… เรารู้สึกว่าให้อภัยเขาได้ เราจึงให้อภัย
ถ้าหากว่าเราให้อภัยเขาได้ สิ่งที่เราได้นั่นคือไล่ความโกรธออกไปจากตัวเรา
ในบางครั้งเราไม่ให้อภัยคน เพราะเราคิดว่าเราทำไม่ได้
เพราะเขาไม่ควรได้รับการให้อภัย แต่ในขณะเดียวกันนั้น
เรากลับไม่รู้ตัวว่าจิตใจของเราที่ ” โ ก ร ธ แ ค้ น “ นั้น มักจะมาคู่กับ ” ค ว า ม ทุ ก ข์ “
และในที่สุด มันมักจะกลับมาหาตัวเราอยู่เสมอ ทำให้เราไม่มีความสุข
มองไปทานไหนก็มีแต่เรื่องทุกข์ร้อนใจ มีแต่อะไรให้คิดกังวลใจ
ในการให้อภัย ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะต้องกลับไปดีกับเขา
แต่เป็นการทำให้เราพ้นจากความรู้สึกทุกข์ร้อนใจ และ ความกังวลใจ
เคยได้ยินไหมกับคำที่ว่า… ” ให้อภัย แต่ไม่สุงสิงด้วย ”
ยกโทษให้ แต่ไม่กลับไปคบ ไม่กลับไปผูกมิตรอีก
คนที่คิดแบบนี้ทำแบบนี้ได้คือคนที่ชนะไม่ใช่พ่ายแพ้
จริงๆ แล้วการให้อภัยกับการให้โอกาส
เป็นคนละส่วนกัน เราให้อภัยแต่ไม่ให้โอกาสได้
เพราะการให้อภัยคือการยกโทษให้ภายในใจ ภายในความคิด
แต่การให้โอกาสต้องมาพร้อมกับการพิสูจน์ตัวเองของคนทำผิด
ถ้าคนทำผิดไม่ได้กลับใจ ไม่ได้เสียใจ
เราไม่จำเป็นต้องให้โอกาสเสมอไป
และ บางครั้งเขายังต้องได้รับผลจากการกระทำความผิดนั้น
แต่ส่วนของเรานั้น แค่ยกโทษให้เขา แล้วเดินหนีออกมา
เอาความสุขของเรากลับคืนมาใหม่เป็นของเรา
การให้อภัย ทำให้เราได้ชีวิต และ ความสุขของเรากลับมา
Cr. ขอบคุณรูปภาพจากอินเตอร์เน็ต , เรียบเรียงโดย bitcoretech
ให้อภัย แต่ไม่สุงสิงด้วย ไม่กลับไปผูกมิตรอีก
Reviewed by Dusita Srikhamwong
on
กรกฎาคม 24, 2565
Rating:

ไม่มีความคิดเห็น: