ป ลู กฟักข้าวไว้ข้างบ้าน ลู ก ด ก มีประ โ ย ช น์ เ ยอะมาก
หลายท่านคงจะพอรู้จักผลไม้ที่มีสีสันสดใสนี้อยู่บ้าง แต่อาจจะไม่ทราบว่ามีประโยช์มากมายจริงๆ ฟักข้าวถูกนำมาแปรรูปในผลิตภันณ์ต่างๆเยอะมาก ไม่ว่าจะเป็นส่วนผสมของสบู่ เป็นต้น จริงๆ แล้ว เราสามารถนำฟักข้าวมารับประทานได้ง่ายๆ ด้วยนะคะ นั่นก็คือ การทำน้ำฟักข้าว หรือการนำมาทำอาหาร เช่น แกง หรือนำมาผสมกับข้าวเพื่อหุงก็ได้สีสันสวยงามและมีสารต้านอนุมูลอิสระที่เยอะมากๆ ด้วยค่ะ
วันนี้เรามาทำความมรู้จักต้นฟักข้าวและประโยชน์ของพืชชนิดนี้ให้มากขึ้นกันค่ะ ฟักข้าว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Momorodica cochinchinensis มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น ฝักข้าว (ภาคเหนือ) มะข้าว (แพร่) ขี้พร้าไฟ (ภาคใต้) ขี้กาเครือ (ปัตตานี) แก็ก (Gag ในภาษาเวียดนาม) เป็นพั น ธุ์ไม้เก่าแก่ของเอเชีย ฟักข้าวเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลเดียวกับมะระ ซึ่งถ้าดูจากภายนอกจะไม่เชื่อว่าจะมีสายพันธุ์ที่ใกล้เคียงกับมะระ แต่ถ้าหากมาลวกจิ้มน้ำพริกกินแบบคนโบราณจะรู้ว่า รสชาติใกล้เคียงกันมาก
สาม า ร ถข ย า ยพัน ธุ์
มีหลายวิธึ เช่น ด้วยเมล็ด, แยกราก, ปักชำ, ทับเถา ฟักข้าวชอบความชื้นสูง (ประมาณ 70-80 %) เริ่มมีดอกหลังจากปลูกไปได้แล้วประมาณ 3-6 เดือน พันธุ์ไทยมักจะให้ผลผลิตตลอดปี
การเก็บเกี่ยว
สามารถให้ผลประมาณ 0-60 ผล/ปี ขึ้นอยู่กับสถานที่ปลูก และการดูแล ถ้าปลูกในสถานที่ที่โดนแดดน้อยกว่า 5 ชมหรือปริมาณแสงแดดน้อย เช่น ปลูกบริเวณหมู่บ้านจัดสรรที่มีที่แคบ ๆ มีต้นไม้ใหญ่หรือมีอะไรมาบังแสงแดดนั่งร้านฟักข้าว ฯลฯ ฟักข้าวจะไม่ออกดอก หรือออกดอกน้อยฟักข้าวออกดอกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม และสามารถเก็บผลได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
หลายท่านคงจะพอรู้จักผลไม้ที่มีสีสันสดใสนี้อยู่บ้าง แต่อาจจะไม่ทราบว่ามีประโยช์มากมายจริงๆ ฟักข้าวถูกนำมาแปรรูปในผลิตภันณ์ต่างๆเยอะมาก ไม่ว่าจะเป็นส่วนผสมของสบู่ เป็นต้น จริงๆ แล้ว เราสามารถนำฟักข้าวมารับประทานได้ง่ายๆ ด้วยนะคะ นั่นก็คือ การทำน้ำฟักข้าว หรือการนำมาทำอาหาร เช่น แกง หรือนำมาผสมกับข้าวเพื่อหุงก็ได้สีสันสวยงามและมีสารต้านอนุมูลอิสระที่เยอะมากๆ ด้วยค่ะ
วันนี้เรามาทำความมรู้จักต้นฟักข้าวและประโยชน์ของพืชชนิดนี้ให้มากขึ้นกันค่ะ ฟักข้าว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Momorodica cochinchinensis มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น ฝักข้าว (ภาคเหนือ) มะข้าว (แพร่) ขี้พร้าไฟ (ภาคใต้) ขี้กาเครือ (ปัตตานี) แก็ก (Gag ในภาษาเวียดนาม) เป็นพั น ธุ์ไม้เก่าแก่ของเอเชีย ฟักข้าวเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลเดียวกับมะระ ซึ่งถ้าดูจากภายนอกจะไม่เชื่อว่าจะมีสายพันธุ์ที่ใกล้เคียงกับมะระ แต่ถ้าหากมาลวกจิ้มน้ำพริกกินแบบคนโบราณจะรู้ว่า รสชาติใกล้เคียงกันมาก
สาม า ร ถข ย า ยพัน ธุ์
มีหลายวิธึ เช่น ด้วยเมล็ด, แยกราก, ปักชำ, ทับเถา ฟักข้าวชอบความชื้นสูง (ประมาณ 70-80 %) เริ่มมีดอกหลังจากปลูกไปได้แล้วประมาณ 3-6 เดือน พันธุ์ไทยมักจะให้ผลผลิตตลอดปี
การเก็บเกี่ยว
สามารถให้ผลประมาณ 0-60 ผล/ปี ขึ้นอยู่กับสถานที่ปลูก และการดูแล ถ้าปลูกในสถานที่ที่โดนแดดน้อยกว่า 5 ชมหรือปริมาณแสงแดดน้อย เช่น ปลูกบริเวณหมู่บ้านจัดสรรที่มีที่แคบ ๆ มีต้นไม้ใหญ่หรือมีอะไรมาบังแสงแดดนั่งร้านฟักข้าว ฯลฯ ฟักข้าวจะไม่ออกดอก หรือออกดอกน้อยฟักข้าวออกดอกในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม และสามารถเก็บผลได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
สssพคุณของฟักข้าว
– ขึ้นชื่อในเรืองของมี ฤ ท ธิ์ ต้ า น อนุมูลอิสหะ มีฤ ท ธิ์ยับยั้ งเซล ล์มะเ ร็ ง โปรตีนในเมล็ดฟักข้าวมีคุณสมบัติที่เรียกว่ายับยั้งการทำงานของไsโบโซม (Ribosome-inactivating proteins) ทำให้ไม่เกิดการสังเคร าะห์ของโปรตีนภ ายในเซลล์ ซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงต่อเ ซล ล์ม ะ เ ร็ ง และเซลล์ที่ติด เ ชื้ อ
– ผล ของฟักข้าวรวมถึงเนื้อเยื่อหุ้มเมล็ด ที่มีสีแดงสด มีคุณค่าทางโภชนาสูง ผลฟักข้าวประกอบด้วย สารเบตาแ คโsทีนสูงมาก มากกว่าแครอทถึง 10 เท่า นอกจากนี้ผลของฟักข้าว ยังอุดมไปด้วยสารไลโคปีน และกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง
– มีการ ส กั ด เอาสาsสำคัญเหล่านี้เพื่อใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญในการทำเครื่องสำอางสำหรับใช้บนใบหน้า เพื่อชะลอความเหี่ยวย่นบนใบหน้า เนื่องจากสารสำคัญเหล่านี้มี ฤท ธิ์ต้ า นอนุมูลอิสsะสูง
– มีการใช้ประโย ชน์ด้านคุณค่าทางโภ ช น าการของผลฟักข้าวในหลายประเท ศในเ อเชี ย ที่ชัดเจนที่สุดได้แก่ในประเทศเวียดนาม ซึ่งคนเวียดนามได้ใช้ฟักข้าวเป็นองค์ ป ระกอบในอาหารพื้นบ้านหลา ยชนิด เนื่องจากมีวิตามิน เอ สู ง
เมนูน้ำฟักข้าว เตรียมส่วนผสมดังนี้ ฟักข้าวสุกคาต้น 2 ลูก, มะนาว, น้ำตาลทรายไม่ฟอกสี, ดอกเกลือ (เกลือป่น), น้ำผึ้ง, น้ำเปล่า
ไปทำกันได้เลย ผ่าฟักข้าวตักเมล็ดออกมาใส่กระชอน ยีเอาแต่เยื่อหุ้มเมล็ด ออกมาเป็นครีมสีแดงอมส้มอย่างนี้ค่ะ
ตักเนื้อที่เหลือใส่เครื่องปั่น เติมน้ำพอท่วม ปั่นให้ละเอียดจะได้ครีมสีเหลืองส้มอย่างนี้ค่ะ
เทเนื้อฟักข้าวที่ปั่นแล้วผสมกับเยื่อหุ้มเมล็ดที่ยีไว้ เติมน้ำอีกหน่อย
ตั้งไฟกลางๆ ใช้ทัพพีคนบ่อยๆ อย่าให้เดือดพล่าน
เติมน้ำตาลทรายไม่ฟอกสี ดอกเกลือ ชิมรสตามชอบ
ปิดไฟแล้วเติมน้ำผึ้งกับน้ำมะนาวแต่งกลิ่นและรสอีกหน่อย (มะนาวจะช่วยให้น้ำฟักข้าวตกตะกอนช้าดูน่าดื่มอีกด้วยค่ะ)
ขอขอบคุณที่มา technologychaoban, share-kh ao, mahido l, modgec.blogspot(บ้านพอเพียง)
– ขึ้นชื่อในเรืองของมี ฤ ท ธิ์ ต้ า น อนุมูลอิสหะ มีฤ ท ธิ์ยับยั้ งเซล ล์มะเ ร็ ง โปรตีนในเมล็ดฟักข้าวมีคุณสมบัติที่เรียกว่ายับยั้งการทำงานของไsโบโซม (Ribosome-inactivating proteins) ทำให้ไม่เกิดการสังเคร าะห์ของโปรตีนภ ายในเซลล์ ซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงต่อเ ซล ล์ม ะ เ ร็ ง และเซลล์ที่ติด เ ชื้ อ
– ผล ของฟักข้าวรวมถึงเนื้อเยื่อหุ้มเมล็ด ที่มีสีแดงสด มีคุณค่าทางโภชนาสูง ผลฟักข้าวประกอบด้วย สารเบตาแ คโsทีนสูงมาก มากกว่าแครอทถึง 10 เท่า นอกจากนี้ผลของฟักข้าว ยังอุดมไปด้วยสารไลโคปีน และกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง
– มีการ ส กั ด เอาสาsสำคัญเหล่านี้เพื่อใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญในการทำเครื่องสำอางสำหรับใช้บนใบหน้า เพื่อชะลอความเหี่ยวย่นบนใบหน้า เนื่องจากสารสำคัญเหล่านี้มี ฤท ธิ์ต้ า นอนุมูลอิสsะสูง
– มีการใช้ประโย ชน์ด้านคุณค่าทางโภ ช น าการของผลฟักข้าวในหลายประเท ศในเ อเชี ย ที่ชัดเจนที่สุดได้แก่ในประเทศเวียดนาม ซึ่งคนเวียดนามได้ใช้ฟักข้าวเป็นองค์ ป ระกอบในอาหารพื้นบ้านหลา ยชนิด เนื่องจากมีวิตามิน เอ สู ง
เมนูน้ำฟักข้าว เตรียมส่วนผสมดังนี้ ฟักข้าวสุกคาต้น 2 ลูก, มะนาว, น้ำตาลทรายไม่ฟอกสี, ดอกเกลือ (เกลือป่น), น้ำผึ้ง, น้ำเปล่า
ไปทำกันได้เลย ผ่าฟักข้าวตักเมล็ดออกมาใส่กระชอน ยีเอาแต่เยื่อหุ้มเมล็ด ออกมาเป็นครีมสีแดงอมส้มอย่างนี้ค่ะ
ตักเนื้อที่เหลือใส่เครื่องปั่น เติมน้ำพอท่วม ปั่นให้ละเอียดจะได้ครีมสีเหลืองส้มอย่างนี้ค่ะ
เทเนื้อฟักข้าวที่ปั่นแล้วผสมกับเยื่อหุ้มเมล็ดที่ยีไว้ เติมน้ำอีกหน่อย
ตั้งไฟกลางๆ ใช้ทัพพีคนบ่อยๆ อย่าให้เดือดพล่าน
เติมน้ำตาลทรายไม่ฟอกสี ดอกเกลือ ชิมรสตามชอบ
ปิดไฟแล้วเติมน้ำผึ้งกับน้ำมะนาวแต่งกลิ่นและรสอีกหน่อย (มะนาวจะช่วยให้น้ำฟักข้าวตกตะกอนช้าดูน่าดื่มอีกด้วยค่ะ)
ขอขอบคุณที่มา technologychaoban, share-kh ao, mahido l, modgec.blogspot(บ้านพอเพียง)
ป ลู กฟักข้าวไว้ข้างบ้าน ลู ก ด ก มีประ โ ย ช น์ เ ยอะมาก
Reviewed by Dusita Srikhamwong
on
กันยายน 12, 2565
Rating:

ไม่มีความคิดเห็น: