“ที่ดินของแม่” ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากัน




“ที่ดินของแม่” ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากัน

นับว่าเป็นเรื่องที่ให้ความรู้และน่าติดตามไม่น้อย เมื่อมีผู้โพสต์ท่านหนึ่งจาก สมช.เว็บดังได้มาโพสต์หัวข้อนี้ จึงทำให้ ชาวเน็ตข้องใจ “ที่ดินของแม่” ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากัน

การแย่ งชิงกันทรัพย์ม รดกนั้น มีให้เห็นอยู่ในละครไทยกันแทบทุกเรื่อง แต่จะมีใครรู้บ้างว่าจริงๆ แล้วทรัพย์มรดกคืออะไร ใครคือผู้มีสิทธิรับมรดก

โดยเมื่อไม่นานมานี้ชาวเน็ตได้ตั้งคำถามว่า ที่ดินของแม่ ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากัน

ทั้งนี้ การรับมรดกที่ดิน นั่นก็คือ เมื่อผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิเกี่ยวกับที่ดิน (เช่น โฉนดที่ดิน หรือ น.ส. หรือ น.ส.3 ก. หรือ น.ส.3 ข.) ได้ถึงแก่กรรมไป ในทางกฎหมายแล้วที่ดินเหล่านั้นก็จะถือเป็นมรดก ซึงจะตกทอดแก่ทายาทของผู้ต ายโดยสิทธิตามกฎหมายหรือโดยพินัยกรรมที่เจ้ามรดกทำไว้

การรับมรดกที่ดิน ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรม มี 7 ลำดับ

1.ผู้สืบสันดาน (บุตร, หลาน, เหลน, ลื้อ)

2.ภรรยาหรือสามี (ต้องได้จดทะเบียนสมรสกันเท่านั้น)

3.บิดาและมารดา

4.พี่น้องร่วมสายเ ลือด ทั้งบิดาและมารดาเดียวกัน

5.พี่น้องร่วมบิดา หรือ มารดาเดียวกัน

6.ปู่ย่า ตายาย

7.ลุง ป้า น้า อา

ตามกฎหมายแล้ว ใครมีสิทธิรับม รดกขึ้นอยู่กับผู้ต ายซึ่งเป็นเจ้าของมรดกได้ทำพินัยกรรมไว้ก่อนต ายหรือไม่ ถ้าทำไว้ทรัพย์มรดกก็จะตกเป็นของบุคคลที่ได้ระบุไว้ในพินัยกรรม

ซึ่งอาจเป็นญาติหรือผู้อื่นที่ไม่ใช่ญาติของเจ้าของมรดกก็ได้ แต่ถ้าผู้ต ายไม่ได้ทำพินัยกรรมไว้ ทรัพย์ของมรดกก็จะตกเป็นของทายาทตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรม ซึ่งเป็นญาติชั้นสนิทหรือชั้นห่างของเจ้ามรดกนั้นเอง

สำหรับส่วนแบ่งมรดกของญาติโดยธรรมมีหลักอยู่ว่า ญาติลำดับเดียวกัน จะได้รับส่วนแบ่งเท่ากัน หากคู่มรดกมีคู่สมรสและมีลูก คู่สมรสจะมีสิทธิเท่ากับลูกคนหนึ่ง แต่หากเจ้ามรดกไม่มีลูก แต่มีพ่อแม่หรือมีพี่น้องพ่อเดียวแม่เดียวกันและมีคู่สมรส คู่สมรสได้ครึ่งนึง อีกครึ่งหนึ่งแบ่งให้กับญาติ

หากเจ้ามรดกไม่มีทายาทลำดับที่ 1,2,3,4 แต่มีทายาทลำดับที่ 5 คือพี่น้องพ่อเดียวกันหรือแม่เดียวกัน หรือลำดับที่ 6,7 คือปู่ย่าตายาย และลุง ป้า น้า อา คู่สมรสได้มรดก 2 ใน 3 ส่วน อีก 1 ใน 3 ส่วน ให้แก่ญาติไปแบ่งกัน ส่วนกรณีถ้าไม่มีทายาทซึ่งเป็นญาติ มรดกจะตกแก่คู่สมรสทั้งหมด

สำหรับขั้นตอนและหน่วยงานเพื่อการขอจดทะเบียนรับมรดก ผู้มีสิทธิได้รับมรดกกรณีเป็นที่ดินจะต้องไปขอจดทะเบียนรับโดนมรดกที่ดินนั้นที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ในกรณีที่มีเอกสารสิทธิเป็นโฉนดที่ดิน น.ส.3 ข. และสำนักงานที่ดินอำเภอ

ในกรณีที่มีเอกสารสิทธิเป็น น.ส.3 ก., น.ส. 3 ถ้าท้องที่ใดที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกเลิกอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอเกี่ยวกับปฏิบัติการตามกฎหมายที่ดินแล้ว ไม่ว่าที่ดินจะเป็นโฉนดที่ดิน น.ส. 3ก. หรือ หรือ น.ส.3 หรือ น.ส.3 ข.จะต้องไปขอจดทะเบียนที่สำนักงานที่ดิน จังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขาที่ที่ดินตั้งอยู่

ตามกฎหมายแล้ว ใครมีสิทธิรับมรดกขึ้นอยู่กับผู้ต ายซึ่งเป็นเจ้าของมรดกได้ทำพินัยกรรมไว้ก่อนตายหรือไม่ ถ้าทำไว้ทรัพย์มรดกก็จะตกเป็นของบุคคลที่ได้ระบุไว้ในพินัยกรรม ซึ่งอาจเป็นญาติหรือผู้อื่นที่ไม่ใช่ญาติของเจ้าของมรดกก็ได้ แต่ถ้าผู้ต ายไม่ได้ทำพินัยกรรมไว้ ทรัพย์ของมรดกก็จะตกเป็นของทายาทตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรม


ที่มา : สมาชิกหมายเลข 4813186, dotproperty


“ที่ดินของแม่” ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากัน “ที่ดินของแม่” ระหว่างลูกสาวกับน้องสาวแม่ ใครมีสิทธิมากกว่ากัน Reviewed by Dusita Srikhamwong on ธันวาคม 03, 2564 Rating: 5

Post Comments

ไม่มีความคิดเห็น:

ขับเคลื่อนโดย Blogger.